ไม่พบผลการค้นหา
เครือข่ายสิทธิฯ แถลงการณคัดคานการที่ สตช.ขอขยายระยะเวลาการบังคับใช พ.ร.บ.ทรมาน-อุมหาย

สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชน ออกแถลงการณคัดคานการที่ สตช.ขอขยายระยะเวลาการบังคับใช พ.ร.บ.ทรมาน-อุมหาย ระบุดังนี้

ตามที่พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ซึ่งประกาศราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 และจะมีผลบังคับใชใ นวันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 แตปรากฏวา ในวันที่ 6 มกราคม 2566 สํานักงานตํารวจแหงชาติไดทําหนังสือถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปนผูรักษาการตามพระราชบัญญัติฯ นี้ ขอเสนอความเห็นใหขยายเวลาการบังคับใช กฎหมายในหมวด 3 แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญ หาย พ.ศ. 2565 ออกไปกอน โดยใหเหตุผลวา เนื่องจากหนวยงานและเจาหนา ที่ที่เกี่ยวของไมม ีความพรอ ม ทั้งดานอุปกรณ ทักษะในการปฏิบัติและแนวทางปฏิบัติที่เปนมาตรฐานกลาง อันอาจกอใหเกิดผลรายตอ สังคม นั้น

สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชนทาย แถลงการณนี้ ขอคัดคานการขอขยายระยะเวลาการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการ ทรมานฯ ดังกลาว ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ดวยเหตุผลดังตอไปนี้

1. พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานฯมีบทบัญญัติสําคัญในการคุมสิทธิในชีวิตและ รางกาย อันเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนโดยในหมวด 3 ไดกําหนดมาตรการปองกันและ ปราบปรามการทรมานและอุมหาย เพื่อควบคุมและถวงดุลการใชอํานาจของเจาหนาที่ตํารวจ ยอม สงผลตอการปฏิรูปการทํางานของตํารวจอยางกวางขวาง เชน กําหนดวาในการตรวจคนจับกุม บุคคล เจาหนาที่จะตองติดกลองติดตามตัวเจาหนาท่ีหรือ Body Cam ซ่ึงนอกจากเพื่อการปองกัน ไมใหมีการซอมทรมานหรือการปฏิบัติโดยมิชอบแลว ยังเปนการควบคุมการตรวจ คน จับ ทําให ประชาชนไมถูกรังแก รีดไถ หรือการประพฤติโดยมิชอบของเจาหนาที่ ทําใหเจาหนาที่ตํารวจตอง ปฏิบัติตอประชาชนโดยสุภาพ เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย อีกทั้งในกรณที ่ีเจาหน้าที่จับกุมบุคคลใดแลว จะตองแจงใหหนวยงานอื่นคือ ฝายปกครองและอัยการทราบทันที พรอมทําบันทึกการ จับกุม สภาพเน้ือตัว รางกายของผูถูกจับ โดยละเอียด เพื่อใหครอบครัวหรือทนายความของผูถูกจับสามารถตรวจสอบได อันเปนการปองกันไมใหมีการทรมาน อุมหาย หรือการกระทําอื่นใดที่มี ลักษณะโหดราย ไรมนุษยธรรมหรือย่ํายีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูถูกจับ ใหอํานาจฝายปกครอง ดีเอสไอ และอัยการสอบสวนหรือตรวจสอบได นอกจากนี้ การใหผูที่เกี่ยวของรองใหศาลอาญาที่มีเขตอํานาจไตสวนโดยทันทีในกรณีที่มีการทรมาน การกระทําโหดราย ไรมนุษยธรรม หรือการย่ํายี ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การกระทําใหสูญหาย ดังนั้น พรบ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ จะเปนหมุดหมายที่สําคัญในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการกระทําโดยมิชอบจาก เจาหนาที่บางคน และเปนจุดเริ่มตนของการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชั้นตํารวจของประเทศ อัน จะเปนผลดีอยางยิ่งตอสังคมไทยยิ่งกวาผลรายดังที่ผูบัญชาการ สตช. กลาวอาง

2. พรบ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯเปนผลของความพยายามของทุกภาคสวนในสังคมไทย ทั้งภาคประชาสังคม วิชาการ และภาครัฐ โดยเฉพาะกระทรวงยุติธรรม และรัฐสภา โดยไดรับความ เห็นชอบโดยมติเอกฉันทจากสภาผูแทนราษฎร จนเปนที่ชื่นชมขององคการสหประชาชาติและ องคกรระหวางประเทศตางๆ ที่ติดตามวาเมื่อใดประเทศไทยจะมีกฎหมาย เพื่อใหประเทศไทย สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศในการปองกันและปราบปรามการทรมานและการอุม หายได ทั้งนี้ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2565 นายกรัฐมนตรีไดแสดงความยินดีที่สํานักงานขาหลวงใหญ เพื่อสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (UNOHCHR) ชื่นชมประเทศไทยที่ไดประกาศใช พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและอุมหาย ฯ นี้

3. การที่สํานักงานตํารวจแหงชาติ(สตช.)พยายามจะใหมีการเลื่อนการบังคับใชกฎหมายนี้ออกไป โดยอางวาหนวยงานที่เกี่ยวของยังไมพรอมทํางาน อุปกรณตางๆ ที่จะใชในการปฏิบัติงานยังมีไม พรอมนั้น เห็นวาเปนขออางที่ปราศจากเหตุผลอันสมควร ทั้งน้ีเพราะกฎหมายไดใหเวลาหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของ รวมทั้ง สตช. มีเวลาในการเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามกฎหมายหลาย เดือน และ ตัวแทนของ สตช. ในเวทีสาธารณะตางๆ โดยเฉพาะ รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ซึ่ง เปนตัวแทนสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดใหคํารับรองและยืนยันกับคณะอนุกรรมาธิการศึกษาการ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ในคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและ สิทธิมนุษยชน สภาผูแทนราษฎรและประชาชน เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 วา สํานักงานตํารวจ แหงชาติสามารถปฏิบัติตามกฎหมายฉบับนี้ไดแนนอน โดยไมมีปญหาแตประการใด อันถือวาคําชี้ แจงดังกลาวตอสภาผูแทนราษฎรยอมมีผลผูกพันกับสํานักงานตํารวจแหงชาติดวย

4. อนึ่ง พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ เมื่อพระมหากษัตริยไดทรงลงพระปรมาภิไธยและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ยอมมีผลผูกพันตอหนวยงานทุกหนวยงานของรัฐและประชาชน ความพยายามผลักดันใหเลื่อนการบังคับใชกฎหมายนี้ออกไปอีกยอมกระทําไมได ดวยเหตุนี้ การที่ สตช.จะเสนอใหคณะรัฐมนตรีออกเปนพระราชกําหนดเลื่อนการบังคับใชไปกอน ยอมขัดตอ รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 172 ที่กําหนดวาการออกพระราชกําหนดตองเปนไปเพื่อประโยชนความ ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปดปอง ภัยพิบัติสาธารณะเทานั้น ซึ่งตองเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนเรงดวนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได แตการที่ สตช. ขอเลื่อนการบังคับใช พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการทรมานฯ ออกไปยอมไมเขา เงื่อนไขที่จะสามารถกระทําไดโดยชอบดวยรัฐธรรมนูญ 2560 ดวยเหตุผลดังกลาว สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) มูลนิธิผสานวัฒนธรรมและองคการสิทธิมนุษยชนทายแถลงการณนี้ จึงขอเรียกรองใหกระทรวงยุติธรรมทําความเขาใจกับสํานักงานตํารวจ แหงชาติโดยเรงดวนและจะตองไมดําเนินการใดอันจะมีผลใหเลื่อนการบังคับใชพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปรามการทรมานและการกระทําใหบุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ออกไป ตามที่สํานักงานตํารวจ แหงชาติเสนอ และขอใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติดําเนินการใหมีการ บังคับใชกฎหมายฉบับนี้ตามกําหนดเพื่ออํานวยใหเปนไปตามหลักการสากลที่วารัฐมีพันธกรณีตามกฎหมาย ระหวางประเทศ ในการเคารพ (respect) ปกปอง(protect) และเติมเต็มใหการปฏิบัติสิทธิมนุษยชนเปน จริง(fulfill) ซึ่งจะเปนผลดีอยางยิ่งตอสังคมไทยตอไป

แถลง ณ วันที่ 12 มกราคม 2566

1. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

2. มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CRCF)

3. กลุมด้วยใจ

4. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

5. กลุมนอนไบนารีแหงประเทศไทย

6. คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.)

7. มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.)

8. เครือขายผูไดรับผลกระทบจากกฎหมายพิเศษ JASAD

9. เครือขายสิทธมิ นุษยชนปาตานี HAP

10. ศูนยสงเสริมสิทธิมนุษยชนภาคอีสาน (ศสอ.)

11. มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ

12.มูลนิธิสายเด็ก1387

13. มูลนิธิสถาบันเพื่อการรวิจัยและนวัตกรรมดานเอชไอวี

14. มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ (FAR)

15. คณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา 35

16. ศูนยทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR)

17. มูลนิธิส่งเสริม และคุมครองสิทธิมนุษยชนยชน (pro-rights)

18. มูลนิธิรักษเด็ก