นายกรัฐมนตรี : รายได้เดือนละ 125,590 บาท
(เงินเดือน 75,590 บาท เงินประจำตำแหน่ง 50,000 บาท)
ทั้งนี้ ใครเป็นนายกฯ มากกว่า 1 ปี มีสิทธิได้รับบำเหน็จเมื่อพ้นตำแหน่งด้วย โดยใช้วิธีคำนวณคือ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x จำนวนปีที่ทำงาน เช่น บางคนเป็นนายกฯ มา 8 จะได้บำเหน็จ 75,590 x 8 = 604,720 บาท
ผู้นำฝ่ายค้าน : รายได้เดือนละ 115,740 บาท
(เงินประจำตำแหน่ง 73,240 + เงินเพิ่ม 42,500)
+มีข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง 4 อัตรา คือ
+คณะทำงานทางการเมือง 10 อัตรา คือ
***รวมค่าใช้จ่ายที่ให้แก่ผู้นำฝ่ายค้าน 504,940 บาทต่อเดือน
ประธานสภาผู้แทนราษฎร : รายได้เดือนละ 125,590 บาท
(เงินประจำตำแหน่ง 75,590 + เงินเพิ่ม 50,000)
+คณะทำงานการเมือง 12 อัตรา คือ
***รวมค่าใช้จ่ายที่ให้แก่ประธานสภาผู้แทนราษฎร 342,590 บาทต่อเดือน
ทั้งนี้ สำหรับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ สส.โดยทั่วไป จะมีรายได้จากเงินประจำแหน่งและเงินเพิ่มเดือนละ 113,560 บาท
ประธานวุฒิสภา : รายได้เดือนละ 119,920 บาท
(เงินประจำตำแหน่ง 74,420 + เงินเพิ่ม 45,500)
+ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง 5 อัตรา คือ
+คณะทำงานทางการเมือง 12 อัตรา คือ
***รวมค่าใช้จ่ายที่ให้แก่ประธานวุฒิสภา 632,190 บาทต่อเดือน
ทั้งนี้ สำหรับสมาชิกวุฒิสภา หรือ สว.โดยทั่วไป จะมีรายได้จากเงินประจำตำแหน่งและเงินเพิ่มเดือนละ 113,560
องคมนตรี :
ประธานองคมนตรี รายได้เดือนละ 121,990 บาท
องคมนตรี รายได้เดือนละ 112,250 บาท
ปัจจุบันมีประธานองคมนตรี 1 คน องคมนตรี 18 คน รวมเป็น 19 คน
====
ที่มา : สิทธิประโยชน์สมาชิกวุฒิสภา (แก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 2) / สิทธิประโยชน์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2557 / คู่มือข้าราชการการเมือง พ.ศ.2562 / พ.ร.ฎ.เงินประจำตำแหน่งขององคมนตรีและรัฐบุรุษ 2551